PHPT - Research Unit
Sitemap | Contact us | Intranet
  • Home
  • About us
    • Clinical Research Platform >
      • Laboratory
      • Monitoring
      • Data Management and Regulatory Compliance
      • Administration and Finance
    • Community Advisory Board
    • Partners and sponsors
  • Research
    • Clinical Research >
      • iTAP
      • Napneung
      • Penta 20 ODYSEEY
      • IMPAACT Studies >
        • P1026s
        • 1077HS
        • P1081
        • P1090
        • P1093
        • P1115
      • HIV-HCV Treatment
      • Cohort of HIV Infected Adults and Children
      • PapilloV
      • Finished Studies >
        • PHPT-5 second phase
        • IMPAACT P1032
        • PHPT-5 first phase
        • PHPT-4
        • PHPT-3
        • PHPT-2
        • PHPT-1
    • Pathogenesis >
      • Recent studies >
        • Population pharmacokinetics of efavirenz in HIV-1 infected Thai children
        • Efavirenz concentrations and probability of virologic failure and adverse effects in HIV-infected children
        • Active TB in HIV-infected children
        • Endothelial dysfunction in HIV-infected adults
        • ​High plasma efavirenz levels and hyperlipidemia in HIV-infected children
        • ​Incidence and risk factors of diabetes in HIV-infected adults on ART
      • Older Studies >
        • Infant Early Diagnosis of HIV
        • Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • Timing and Risk factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • Simplified Methods for ARV Measurement
        • Pharmacogenomics of ARVs
        • Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • Pharmacokinetic Studies
    • Social Science >
      • TEEWA (HIV-infected adolescents)
      • LIWA (Living with Antiretrovirals)
      • Access to Treatment and Care (ATC)
  • Publications
    • Journal articles
    • Oral Presentations
    • Posters
  • Did you know?
    • The liver
    • Hepatitis B
    • Hepatitis C
    • HIV
    • Human Papilloma Virus
    • Zika Virus
  • Join us
    • Students and Interns
    • Job Applications
  • PHPT
  • Présentation
    • Plateforme de Recherche Clinique >
      • Laboratoire
      • Contrôle et Suivi
      • Gestion de données et Réglementation
      • Administration et Finances
    • Lien avec les communautés
    • Partenariats
  • La Recherche
    • La Recherche Clinique >
      • • iTAP
      • • Napneung
      • • Penta 20 ODYSEEY
      • • IMPAACT Studies >
        • • P1026s
        • • 1077HS
        • • P1081
        • • P1090
        • • P1093
        • • P1115
      • • HIV-HCV Treatment
      • • Cohort of HIV Infected Adults and Children
      • • PapilloV
      • Études précédentes​ >
        • • PHPT-5 second phase
        • • IMPAACT P1032
        • • PHPT-5 first phase
        • • PHPT-4
        • • PHPT-3
        • • PHPT-2
        • • PHPT-1
    • Pathogénie >
      • Etudes récentes >
        • • Population pharmacokinetics of efavirenz in HIV-1 infected Thai children
        • • Efavirenz concentrations and probability of virologic failure and adverse effects in HIV-infected children
        • • Active TB in HIV-infected children
        • • Endothelial dysfunction in HIV-infected adults
        • • ​High plasma efavirenz levels and hyperlipidemia in HIV-infected children
        • • ​Incidence and risk factors of diabetes in HIV-infected adults on ART
      • Etudes réalisées >
        • • Infant Early Diagnosis of HIV
        • • Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • • Timing and Risk factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • • Simplified Methods for ARV Measurement FR
        • • Pharmacogenomics of ARVs
        • • Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • • Pharmacokinetic Studies
    • Sciences Sociales >
      • • TEEWA
      • • LIWA (Living with Antiretrovirals)
      • • Access to Treatment and Care (ATC)
  • Résultats
    • Articles scientifiques
    • Présentations orales​
    • Affiches
  • En savoir plus …
    • Le foie
    • L’hépatite B
    • L’hépatite C
    • Le VIH
    • Le papillomavirus humain (HPV)
    • Le Virus Zika
  • Nous rejoindre
    • Etudiants et internes
    • Candidatures spontanées
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ฐานการวิจัยทางคลินิก >
      • แผนกห้องปฏิบัติการ
      • แผนกกำกับติดตามการวิจัย
      • แผนกบริหารจัดการข้อมูลและควบคุมเอกสา&#
      • แผนกบริหารงานทั่วไปและการเงิน
    • คณะกรรมการที่ปรึกษาชุมชน
    • ผู้ให้ความร่วมมือและผู้ให้ทุน
  • การวิจัย
    • การวิจัยทางคลีนิค >
      • โครงการวิจัยไอแทป
      • โครงการนับหนึ่ง
      • โครงการวิจัยโอดิสซี่ (ODYSSEY)
      • โครงการวิจัยร่วมกับ IMPAACT >
        • โครงการวิจัย P1026S
        • โครงการวิจัย 1077HS
        • โครงการวิจัย P1081
        • โครงการวิจัย P1090
        • โครงการวิจัย P1093
        • โครงการวิจัย P1115
      • โครงการวิจัย HIV-HCV Treatment
      • โครงการวิจัยติดตามสังเกตการณ์
      • โครงการวิจัย PapilloV
      • โครงการวิจัยที่เสร็จสิ้นแล้ว >
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 5 ระยะที่ 2
        • โครงการวิจัย P1032
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 5 ระยะแรก
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 4
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 3
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 2
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 1
    • การศึกษาพยาธิกำเนิด >
      • การศึกษาวิจัยเมื่อเร็วๆ นี้ >
        • การศึกษาด้านเภสัชจลนศาสตร์ของประชากร
        • ความเข้มข้นของยาอีฟาไวเรนซ์และความน่
        • วัณโรคระยะแพร่กระจายในเด็กที่ติดเชื้
        • ความผิดปกติของการทำงานของเซลล์บุผนัง
        • ระดับยาอีฟาไวเรนซ์ในเลือดสูงและภาวะไ
        • อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิด
      • การศึกษาที่เสร็จสิ้นแล้ว >
        • การศึกษา Infant Early Diagnosis of HIV
        • การศึกษา Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • การศึกษา Timing and Risk Factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • การศึกษา Simplified Methods for ARV Measurement
        • การศึกษา Pharmacogenomics of ARVs​
        • การศึกษา Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • การศึกษาทางเภสัชจลนศาสตร์
    • การวิจัยด้านสังคมศาสตร์ >
      • โครงการวิจัย TEEWA
      • โครงการวิจัย LIWA
      • การเข้าถึงการดูแลและรักษา
  • การเผยแพร่ผลการวิจัย
    • บทความที่ได้ตีพิมพ์ในวารสารด้านการแพ
    • การนำเสนอด้วยวาจา
    • การนำเสนอด้วยโปสเตอร์
  • รู้หรือไม่...
    • ตับของเรา
    • ตับอักเสบบี
    • ตับอักเสบซี
    • เอชไอวี
    • ไวรัสเอชพีวี
    • ซิกาไวรัส
  • ร่วมงานกับเรา
    • ร่วมงานกับเรา
    • การยื่นสมัครสำหรับผู้ที่มีความสนใจ
  • Symposiums
    • 2020 Mekong Hepatitis Symposium
    • August 19-20, 2019
    • September 5-7, 2018
    • November 22-24, 2017

โครงการวิจัย iTAP

คุณอยู่ที่: หน้าแรก / การวิจัย / การวิจัยทางคลีนิค / โครงการวิจัย iTAP
ปัจจุบันนี้ ยังไม่มียาต้านการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีชนิดใดที่ได้รับการอนุมัติให้ใช้ในการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อไวรัสตับอีกเสบบีไปสู่ลูกขณะตั้งครรภ์ บางสมาคมแพทย์ระหว่างประเทศได้เสนอให้มีการใช้ยาต้านไวรัสเพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในขณะตั้งครรภ์แต่ปัจุบันนี้ก็ยังไม่มีข้อแนะนำที่ยืนยันให้ใช้ยาต้านไวรัสเป็นระยะเวลาสั้นๆในระหว่างตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีระดับไวรัสตับอักเสบบีในเลือดสูงในช่วงตั้งครรภ์นั้นมีความเสี่ยงสูงที่สุดที่จะถ่ายทอดเชื้อไวรัสไปสู่ทารกในระหว่างตั้งครรภ์ ในด้านประสิทธิผลและความปลอดภัยของการให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสในช่วงระยะเวลาสั้นๆระหว่างตั้งครรภ์ และช่วงแรกหลังคลอดเพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีจากมารดาสู่ทารกในหญิงตั้งครรภ์ที่ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด:
ข้อมูลด้านประสิทธิภาพ: การวิจัยเฉพาะทางคลินิก แบบสุ่มตัวอย่าง ปกปิดทั้งสองฝ่าย เป็นการวิจัยที่ใช้ยาไร้ฤทธิ์เป็นกลุ่มควบคุมด้านคุณภาพ ซึ่งมีการดำเนินการวิจัยในประเทศจีนและประเทศฟิลิปปินส์นั้นประสบความล้มเหลวในการแสดงให้เห็นถึงประสิทธิผลของยาลามิวูดีน (3TC) ที่ใช้เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในขณะตั้งครรภ์ ( Xu al, J Viral Hepat, 2009) อย่างไรก็ตาม ได้มีการวิจัยที่ไม่ได้มีการสุ่มตัวอย่างที่ดำเนินการวิจัยในประเทศจีนแสดงให้เห็นถึงประสิทธิผลของการใช้ยา telbivudine (Han GR et al, J Hepatol, 2011) ซึ่งแสดงให้เห็นว่ายาต้านไวรัสที่มีประสิทธิภาพซึ่งอาจป้องกันการถ่ายทอดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในขณะตั้งครรภ์ได้

ข้อมูลด้านความปลอดภัย: ความทนต่อยาของมารดาที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสมีการติดตามจนถึงช่วงแรกหลังคลอดนั้นยังไม่มีการประเมินอย่างเพียงพอ เป็นที่ทราบดีว่าการเปลี่ยนแปลงด้านภูมิคุ้มกันในช่วงตั้งครรภ์และช่วงหลังคลอดนั้นอาจส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของค่าเอนไซม์ตับ (ALT) ซึ่งโดยปกติการแบ่งตัวของเชื้อไวรัสที่เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็วนั้นมักจะขึ้นหลังจากการหยุดการรักษาด้วยยาต้านไวรัสซึ่งอาจกระตุ้นให้เอนไซม์ ALT เพิ่มมากขึ้นในลักษณะนี้ แทบจะไม่มีข้อมูลน่าเชื่อถือได้ในด้านความปลอดภัยหลังจากหยุดให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสในลักษณะนี้

โครงการวิจัยไอแทปจะให้ทั้งข้อมูลด้านประสิทธิผลและด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้ยาทีโนโฟเวียร์ ไดโซพร็อกซิล ฟูมาเรต (TDF) เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีสู่ลูกในหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงในการถ่ายทอดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี

ผลของโครงการวิจัย iTAP ที่ดำเนินการโดยโครงการ PHPT และโรงพยาบาลในเครือข่ายของโครงการ (โรงพยาบาลรัฐ 17 แห่ง) ได้เพิ่มความน่าสนใจให้กับการนำวิธีการใหม่ไปใช้ป้องกันการถ่ายทอดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีจากมารดาสู่ทารก ซึ่งผลของการวิจัยนี้ได้ตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์นิวอิงแลนด์ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2561

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมโปรดดูที่: ClinicalTrials.gov NCT01745822 
Or refer to the Protocol: BMC Infectious Diseases 
​สำหรับข้อมูลวารสารการแพทย์นิวอิงแลนด์
: www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMoa1708131
Picture
Location
Location
© PHPT (CMU-IRD Unit 174)
195 Kaew Nawarat Road (3-4 Fl.), Wat Ked, Muang Chiang Mai, 50000, Thailand
Contact Webmaster