PHPT - Research Unit
Sitemap | Contact us | Intranet
  • Home
  • About us
    • Clinical Research Platform >
      • Laboratory
      • Monitoring
      • Data Management and Regulatory Compliance
      • Administration and Finance
    • Community Advisory Board
    • Partners and sponsors
  • Research
    • Clinical Research >
      • iTAP
      • Napneung
      • Simplified PrEP for MSM
      • Penta 20 ODYSEEY
      • IMPAACT Studies >
        • P1026s
        • 1077HS
        • P1081
        • P1090
        • P1093
        • P1115
      • HIV-HCV Treatment
      • Cohort of HIV Infected Adults and Children
      • PapilloV
      • Finished Studies >
        • PHPT-5 second phase
        • IMPAACT P1032
        • PHPT-5 first phase
        • PHPT-4
        • PHPT-3
        • PHPT-2
        • PHPT-1
    • Pathogenesis >
      • Recent studies >
        • Population pharmacokinetics of efavirenz in HIV-1 infected Thai children
        • Efavirenz concentrations and probability of virologic failure and adverse effects in HIV-infected children
        • Active TB in HIV-infected children
        • Endothelial dysfunction in HIV-infected adults
        • ​High plasma efavirenz levels and hyperlipidemia in HIV-infected children
        • ​Incidence and risk factors of diabetes in HIV-infected adults on ART
      • Older Studies >
        • Infant Early Diagnosis of HIV
        • Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • Timing and Risk factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • Simplified Methods for ARV Measurement
        • Pharmacogenomics of ARVs
        • Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • Pharmacokinetic Studies
    • Social Science >
      • TEEWA (HIV-infected adolescents)
      • LIWA (Living with Antiretrovirals)
      • Access to Treatment and Care (ATC)
  • Publications
    • Journal articles
    • Oral Presentations
    • Posters
  • Did you know?
    • The liver
    • Hepatitis B
    • Hepatitis C
    • HIV
    • Human Papilloma Virus
    • Zika Virus
  • Join us
    • Students and Interns
    • Job Applications
  • PHPT
  • Présentation
    • Plateforme de Recherche Clinique >
      • Laboratoire
      • Contrôle et Suivi
      • Gestion de données et Réglementation
      • Administration et Finances
    • Lien avec les communautés
    • Partenariats
  • La Recherche
    • La Recherche Clinique >
      • • iTAP
      • • Napneung
      • • Penta 20 ODYSEEY
      • • IMPAACT Studies >
        • • P1026s
        • • 1077HS
        • • P1081
        • • P1090
        • • P1093
        • • P1115
      • • HIV-HCV Treatment
      • • Cohort of HIV Infected Adults and Children
      • • PapilloV
      • Études précédentes​ >
        • • PHPT-5 second phase
        • • IMPAACT P1032
        • • PHPT-5 first phase
        • • PHPT-4
        • • PHPT-3
        • • PHPT-2
        • • PHPT-1
    • Pathogénie >
      • Etudes récentes >
        • • Population pharmacokinetics of efavirenz in HIV-1 infected Thai children
        • • Efavirenz concentrations and probability of virologic failure and adverse effects in HIV-infected children
        • • Active TB in HIV-infected children
        • • Endothelial dysfunction in HIV-infected adults
        • • ​High plasma efavirenz levels and hyperlipidemia in HIV-infected children
        • • ​Incidence and risk factors of diabetes in HIV-infected adults on ART
      • Etudes réalisées >
        • • Infant Early Diagnosis of HIV
        • • Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • • Timing and Risk factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • • Simplified Methods for ARV Measurement FR
        • • Pharmacogenomics of ARVs
        • • Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • • Pharmacokinetic Studies
    • Sciences Sociales >
      • • TEEWA
      • • LIWA (Living with Antiretrovirals)
      • • Access to Treatment and Care (ATC)
  • Résultats
    • Articles scientifiques
    • Présentations orales​
    • Affiches
  • En savoir plus …
    • Le foie
    • L’hépatite B
    • L’hépatite C
    • Le VIH
    • Le papillomavirus humain (HPV)
    • Le Virus Zika
  • Nous rejoindre
    • Etudiants et internes
    • Candidatures spontanées
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ฐานการวิจัยทางคลินิก >
      • แผนกห้องปฏิบัติการ
      • แผนกกำกับติดตามการวิจัย
      • แผนกบริหารจัดการข้อมูลและควบคุมเอกสา&#
      • แผนกบริหารงานทั่วไปและการเงิน
    • คณะกรรมการที่ปรึกษาชุมชน
    • ผู้ให้ความร่วมมือและผู้ให้ทุน
  • การวิจัย
    • การวิจัยทางคลีนิค >
      • โครงการวิจัยไอแทป
      • โครงการนับหนึ่ง
      • การให้ยาเพร็พแบบง่ายสำหรับกลุ่มชายรั
      • โครงการวิจัยโอดิสซี่ (ODYSSEY)
      • โครงการวิจัยร่วมกับ IMPAACT >
        • โครงการวิจัย P1026S
        • โครงการวิจัย 1077HS
        • โครงการวิจัย P1081
        • โครงการวิจัย P1090
        • โครงการวิจัย P1093
        • โครงการวิจัย P1115
      • โครงการวิจัย HIV-HCV Treatment
      • โครงการวิจัยติดตามสังเกตการณ์
      • โครงการวิจัย PapilloV
      • โครงการวิจัยที่เสร็จสิ้นแล้ว >
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 5 ระยะที่ 2
        • โครงการวิจัย P1032
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 5 ระยะแรก
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 4
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 3
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 2
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 1
    • การศึกษาพยาธิกำเนิด >
      • การศึกษาวิจัยเมื่อเร็วๆ นี้ >
        • การศึกษาด้านเภสัชจลนศาสตร์ของประชากร
        • ความเข้มข้นของยาอีฟาไวเรนซ์และความน่
        • วัณโรคระยะแพร่กระจายในเด็กที่ติดเชื้
        • ความผิดปกติของการทำงานของเซลล์บุผนัง
        • ระดับยาอีฟาไวเรนซ์ในเลือดสูงและภาวะไ
        • อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิด
      • การศึกษาที่เสร็จสิ้นแล้ว >
        • การศึกษา Infant Early Diagnosis of HIV
        • การศึกษา Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • การศึกษา Timing and Risk Factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • การศึกษา Simplified Methods for ARV Measurement
        • การศึกษา Pharmacogenomics of ARVs​
        • การศึกษา Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • การศึกษาทางเภสัชจลนศาสตร์
    • การวิจัยด้านสังคมศาสตร์ >
      • โครงการวิจัย TEEWA
      • โครงการวิจัย LIWA
      • การเข้าถึงการดูแลและรักษา
  • การเผยแพร่ผลการวิจัย
    • บทความที่ได้ตีพิมพ์ในวารสารด้านการแพ
    • การนำเสนอด้วยวาจา
    • การนำเสนอด้วยโปสเตอร์
  • รู้หรือไม่...
    • ตับของเรา
    • ตับอักเสบบี
    • ตับอักเสบซี
    • เอชไอวี
    • ไวรัสเอชพีวี
    • ซิกาไวรัส
  • ร่วมงานกับเรา
    • ร่วมงานกับเรา
    • การยื่นสมัครสำหรับผู้ที่มีความสนใจ
  • Symposiums
    • 2020 Mekong Hepatitis Symposium
    • August 19-20, 2019
    • September 5-7, 2018
    • November 22-24, 2017

โครงการวิจัยติดตามสังเกตการณ์​ในผู้ใหญ่และเด็กที่ติดเชื้อ HIV

คุณอยู่ที่: หน้าแรก / การวิจัย / การวิจัยทางคลีนิค / โครงการวิจัยติดตามสังเกตการณ์ในผู้ใหญ่และเด็กที่ติดเชื้อ HIV
การให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสได้แสดงให้เห็นถึงผลที่ดีอย่างมากในการลดความเสี่ยงของการดำเนินโรคเข้าสู่ภาวะเอดส์และการเสียชีวิตในผู้ใหญ่และเด็กที่ติดเชื้อเอช ไอ วีในโครงการวิจัยทางคลินิกหลายโครงการ  จากการสังเกตการณ์ในประชากรกลุ่มใหญ่ของโครงการวิจัย cohorts ในยุโรปและประเทศสหรัฐอเมริกา ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสสามารถลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอช ไอ วี ในสถานพยาบาลซึ่งให้การดูแลรักษาแก่ผู้ป่วยทั่วไปได้ถึงร้อยละ 70

โครงการวิจัย PHPT ได้ดำเนินการวิจัยในโรงพยาบาลต่างๆของรัฐซึ่งให้การรักษาแก่ผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยและได้ดำเนินการวิจัยในกลุ่มผู้ติดเชื้อเอช ไอ วี / เอดส์ทั่วประเทศไทยโดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงสาธารณสุขของไทย องค์กร Oxfam ประเทศสหราชอาณาจักรและกองทุนโลก ผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการรักษาในโครงการวิจัยแบติดตามสังเกตการณ์ได้รับการตรวจติดตามเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีความปลอดภัยและเพื่อตรวจสอบประสิทธิผลและผลกระทบของการรักษาที่จัดให้ผู้ป่วย

ในปีพ.ศ. 2545 โครงการ PHPT ได้ยื่นเสนอโครงการร่วมกับหน่วยงานอื่นๆต่อ กองทุนโลกในการต่อสู้โรคเอดส์ วัณโรคและมาลาเรีย (GFATM) ทั้งนี้เพื่อแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการจัดการเพื่อให้การดูแลรักษาด้านเอช ไอ วีที่มีคุณภาพสูง รวมถึงการให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสในโครงการวิจัยของโครงการ PHPT – กองทุนโลก(GFATM) ซึ่งจะให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสและติดตามผู้ป่วยจำนวนมากกว่า 2,000 ราย ซึ่ง 1 ใน 3 เป็นผู้ป่วยเด็ก

เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการใช้ยาต้านไวรัสและระยะเวลาในการใช้สูตรยาต้านไวรัสนั้นเหมาะสมที่สุด โครงการวิจัยนี้จึงได้เน้นถึงความสำคัญอย่างยิ่งของการมีส่วนร่วมของผู้ที่ติดเชื้อเอช ไอ วี / เอดส์ความจำเป็นของการให้ความช่วยเหลือในการฝึกอบรมด้านความเชี่ยวชาญทางทางการแพทย์และประโยชน์ของการจัดตั้งเครือข่ายอิสระของผู้เชี่ยวชาญด้านการให้การดูแลรักษา เอชไอ วีโดยเฉพาะ การพัฒนาขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนสำหรับการคัดกรองผู้ป่วย มีการประเมินผลทางคลินิกและทางชีววิทยาและการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นระบบ ทำให้ทางโครงการสามารถใช้เป็นหลักฐานความสำเร็จด้านไวรัสวิทยาและภูมิคุ้มกันวิทยาที่สูงขึ้นและบรรลุผลสำเร็จจากอัตราการเสียชีวิตที่ต่ำลง
โครงการวิจัยแบบติดตามสังเกตการณ์นี้ได้ติดตามดูแลผู้ที่เข้าร่วมโครงการอย่างใกล้ชิดควบคู่ไปกับการเก็บรวบรวมข้อมูลทางคลินิกและข้อมูลทางประชากรศาสตร์อย่างสม่ำเสมอ ทางโครงการได้วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ปัญหาในส่วนที่สำคัญในการวิจัยดังต่อไปนี้ ทั้งนี้เพื่อแจ้งให้ทราบถึงนโยบายและโครงการต่างๆสำหรับอนาคตเพื่อให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสเกิดประโยชน์ที่เหมาะสมที่สุด:
  • ประสิทธิผลในระยะยาวของการให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัส : การรอดชีพในระยะยาว ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรอดชีพ การตอบสนองของเชื้อไวรัสและภูมิคุ้มกัน
  • ความปลอดภัยของการให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัส: อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของความเป็นพิษ การเกิดอุบัติการณ์/เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์รุนแรงการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล (ที่เกี่ยวข้องกับเชื้อเอช ไอ วี, ยาต้านไวรัสและอื่น ๆ)
  • การดื้อต่อยา : ระยะเวลาของการรับการรักษาด้วยสูตรยาแรกและรูปแบบของการดื้อยา การกลายพันธุ์ของการดื้อต่อยาก่อนการรักษา
  • การติดเชื้อร่วม : เชื้อเอชไอวีและเชื้อไวรัสตับอักเสบบี เชื้อไวรัสตับอักเสบซีและวัณโรค
  • การให้ความร่วมมือต่อการรักษา
  • ต้นทุนประสิทธิผลของการให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัส : กลยุทธ์การวินิจฉัย (เด็ก) สูตรยา, กลยุทธ์การตรวจติดตาม

อย่างไรก็ตาม ทางโครงการยังคงดำเนินการให้การฝึกอบรมและพัฒนากระบวนการทางคลินิกเฉพาะด้านอย่างต่อเนื่อง สร้างความเข้มแข็งแก่คณะผู้ดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและกลุ่มผู้ติดเชื้อเอช ไอ วี/เอดส์

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมโปรดดูที่: ClinicalTrials.gov NCT00433030
Picture
Picture
Location
Location
© PHPT 
195 Kaew Nawarat Road (3-4 Fl.), Wat Ked, Muang Chiang Mai, 50000, Thailand
Contact Webmaster