PHPT - Research Unit
Sitemap | Contact us | Intranet
  • Home
  • About us
    • Clinical Research Platform >
      • Laboratory
      • Monitoring
      • Data Management and Regulatory Compliance
      • Administration and Finance
    • Community Advisory Board
    • Partners and sponsors
  • Research
    • Clinical Research >
      • iTAP
      • Napneung
      • Simplified PrEP for MSM
      • Penta 20 ODYSEEY
      • IMPAACT Studies >
        • P1026s
        • 1077HS
        • P1081
        • P1090
        • P1093
        • P1115
      • HIV-HCV Treatment
      • Cohort of HIV Infected Adults and Children
      • PapilloV
      • Finished Studies >
        • PHPT-5 second phase
        • IMPAACT P1032
        • PHPT-5 first phase
        • PHPT-4
        • PHPT-3
        • PHPT-2
        • PHPT-1
    • Pathogenesis >
      • Recent studies >
        • Population pharmacokinetics of efavirenz in HIV-1 infected Thai children
        • Efavirenz concentrations and probability of virologic failure and adverse effects in HIV-infected children
        • Active TB in HIV-infected children
        • Endothelial dysfunction in HIV-infected adults
        • ​High plasma efavirenz levels and hyperlipidemia in HIV-infected children
        • ​Incidence and risk factors of diabetes in HIV-infected adults on ART
      • Older Studies >
        • Infant Early Diagnosis of HIV
        • Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • Timing and Risk factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • Simplified Methods for ARV Measurement
        • Pharmacogenomics of ARVs
        • Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • Pharmacokinetic Studies
    • Social Science >
      • TEEWA (HIV-infected adolescents)
      • LIWA (Living with Antiretrovirals)
      • Access to Treatment and Care (ATC)
  • Publications
    • Journal articles
    • Oral Presentations
    • Posters
  • Did you know?
    • The liver
    • Hepatitis B
    • Hepatitis C
    • HIV
    • Human Papilloma Virus
    • Zika Virus
  • Join us
    • Students and Interns
    • Job Applications
  • PHPT
  • Présentation
    • Plateforme de Recherche Clinique >
      • Laboratoire
      • Contrôle et Suivi
      • Gestion de données et Réglementation
      • Administration et Finances
    • Lien avec les communautés
    • Partenariats
  • La Recherche
    • La Recherche Clinique >
      • • iTAP
      • • Napneung
      • • Penta 20 ODYSEEY
      • • IMPAACT Studies >
        • • P1026s
        • • 1077HS
        • • P1081
        • • P1090
        • • P1093
        • • P1115
      • • HIV-HCV Treatment
      • • Cohort of HIV Infected Adults and Children
      • • PapilloV
      • Études précédentes​ >
        • • PHPT-5 second phase
        • • IMPAACT P1032
        • • PHPT-5 first phase
        • • PHPT-4
        • • PHPT-3
        • • PHPT-2
        • • PHPT-1
    • Pathogénie >
      • Etudes récentes >
        • • Population pharmacokinetics of efavirenz in HIV-1 infected Thai children
        • • Efavirenz concentrations and probability of virologic failure and adverse effects in HIV-infected children
        • • Active TB in HIV-infected children
        • • Endothelial dysfunction in HIV-infected adults
        • • ​High plasma efavirenz levels and hyperlipidemia in HIV-infected children
        • • ​Incidence and risk factors of diabetes in HIV-infected adults on ART
      • Etudes réalisées >
        • • Infant Early Diagnosis of HIV
        • • Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • • Timing and Risk factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • • Simplified Methods for ARV Measurement FR
        • • Pharmacogenomics of ARVs
        • • Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • • Pharmacokinetic Studies
    • Sciences Sociales >
      • • TEEWA
      • • LIWA (Living with Antiretrovirals)
      • • Access to Treatment and Care (ATC)
  • Résultats
    • Articles scientifiques
    • Présentations orales​
    • Affiches
  • En savoir plus …
    • Le foie
    • L’hépatite B
    • L’hépatite C
    • Le VIH
    • Le papillomavirus humain (HPV)
    • Le Virus Zika
  • Nous rejoindre
    • Etudiants et internes
    • Candidatures spontanées
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ฐานการวิจัยทางคลินิก >
      • แผนกห้องปฏิบัติการ
      • แผนกกำกับติดตามการวิจัย
      • แผนกบริหารจัดการข้อมูลและควบคุมเอกสา&#
      • แผนกบริหารงานทั่วไปและการเงิน
    • คณะกรรมการที่ปรึกษาชุมชน
    • ผู้ให้ความร่วมมือและผู้ให้ทุน
  • การวิจัย
    • การวิจัยทางคลีนิค >
      • โครงการวิจัยไอแทป
      • โครงการนับหนึ่ง
      • การให้ยาเพร็พแบบง่ายสำหรับกลุ่มชายรั
      • โครงการวิจัยโอดิสซี่ (ODYSSEY)
      • โครงการวิจัยร่วมกับ IMPAACT >
        • โครงการวิจัย P1026S
        • โครงการวิจัย 1077HS
        • โครงการวิจัย P1081
        • โครงการวิจัย P1090
        • โครงการวิจัย P1093
        • โครงการวิจัย P1115
      • โครงการวิจัย HIV-HCV Treatment
      • โครงการวิจัยติดตามสังเกตการณ์
      • โครงการวิจัย PapilloV
      • โครงการวิจัยที่เสร็จสิ้นแล้ว >
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 5 ระยะที่ 2
        • โครงการวิจัย P1032
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 5 ระยะแรก
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 4
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 3
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 2
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 1
    • การศึกษาพยาธิกำเนิด >
      • การศึกษาวิจัยเมื่อเร็วๆ นี้ >
        • การศึกษาด้านเภสัชจลนศาสตร์ของประชากร
        • ความเข้มข้นของยาอีฟาไวเรนซ์และความน่
        • วัณโรคระยะแพร่กระจายในเด็กที่ติดเชื้
        • ความผิดปกติของการทำงานของเซลล์บุผนัง
        • ระดับยาอีฟาไวเรนซ์ในเลือดสูงและภาวะไ
        • อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิด
      • การศึกษาที่เสร็จสิ้นแล้ว >
        • การศึกษา Infant Early Diagnosis of HIV
        • การศึกษา Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • การศึกษา Timing and Risk Factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • การศึกษา Simplified Methods for ARV Measurement
        • การศึกษา Pharmacogenomics of ARVs​
        • การศึกษา Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • การศึกษาทางเภสัชจลนศาสตร์
    • การวิจัยด้านสังคมศาสตร์ >
      • โครงการวิจัย TEEWA
      • โครงการวิจัย LIWA
      • การเข้าถึงการดูแลและรักษา
  • การเผยแพร่ผลการวิจัย
    • บทความที่ได้ตีพิมพ์ในวารสารด้านการแพ
    • การนำเสนอด้วยวาจา
    • การนำเสนอด้วยโปสเตอร์
  • รู้หรือไม่...
    • ตับของเรา
    • ตับอักเสบบี
    • ตับอักเสบซี
    • เอชไอวี
    • ไวรัสเอชพีวี
    • ซิกาไวรัส
  • ร่วมงานกับเรา
    • ร่วมงานกับเรา
    • การยื่นสมัครสำหรับผู้ที่มีความสนใจ
  • Symposiums
    • 2020 Mekong Hepatitis Symposium
    • August 19-20, 2019
    • September 5-7, 2018
    • November 22-24, 2017
คุณอยู่ที่: หน้าแรก / การวิจัย / การวิจัยทางคลีนิค / โครงการวิจัย PapilloV

การติดเชื้อไวรัสฮิวแมนแป๊บปิโลม่า (เอช พี วี) และรอยโรคของการเกิดมะเร็งปากมดลูกในผู้หญิงไทยที่ติดเชื้อเอช ไอ วี: การศึกษาแบบไปข้างหน้า

ในประเทศไทยพบว่ามะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดเป็นอันดับสองของผู้หญิงและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตมากกว่า 5,000 รายต่อปี หญิงที่ติดเชื้อเอช ไอ วี มีความเสี่ยงในการติดเชื้อเอช พี วีมากขึ้น และไวต่อการพัฒนาไปเป็นรอยโรคมะเร็งปากมดลูกได้มากขึ้นและเกิดเป็นมะเร็งได้ในที่สุด

การติดเชื้อไวรัสเอช พี วี พบว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงหลักในการพัฒนาของมะเร็งปากมดลูก ในจำนวนสายพันธุ์เชื้อไวรัสเอช พี วีที่มีมากกว่า 100 สายพันธุ์นั้น องค์การอนามัยโลกได้พิจารณาว่ามีเชื้อไวรัสเอช พี วีชนิดมีความเสี่ยงสูงอยู่ 13 สายพันธุ์ (high risk HPV: HR-HPV) โดยเฉพาะสายพันธุ์ 16 และสายพันธุ์ 18 ซึ่งเชื้อไวรัสเอช พี วี 2 สายพันธุ์นี้ก่อให้เกิดมะเร็งปากมดลูกมากกว่าร้อยละ 70 ทั่วโลก 

วัตถุประสงค์หลักของการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับเชื้อไวรัสเอช พี วี ในกลุ่มผู้ป่วยหญิงที่ติดเชื้อเอช ไอ วี ในประเทศไทยคือเพื่อ:
  • ประเมินความชุกของการติดเชื้อไวรัสเอช พี วี โดยเฉพาะเชื้อไวรัสเอช พี วีชนิดมีความเสี่ยงสูง (HR-HPV)
  • ประเมินความชุกของรอยโรคก่อนเป็นมะเร็งบริเวณปากมดลูก
  • เพื่อพัฒนาขั้นตอนสำหรับการวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก โดยการใช้การคัดกรองหาเชื้อไวรัสเอช พี วีร่วมกันกับการตรวจ pap-smear
นับตั้งแต่ปีพ.ศ. 2555 ถึง 2556 โครงการวิจัยเกี่ยวกับเชื้อไวรัสเอช พี วีได้รับอาสาสมัครหญิงที่ติดเชื้อเอช ไอ วีจำนวนทั้งสิ้น 829 รายในโรงพยาบาล 24 แห่งทั่วประเทศไทย อาสาสมัครหญิงได้รับการตรวจการติดเชื้อไวรัสเอช พี วีและการตรวจ pap-smear ทุกปี ในกรณีที่มีผลการตรวจ pap-smear ผิดปกติหรือพบเชื้อไวรัสเอช พี วีชนิดที่มีความเสี่ยงสูง อาสาสมัครหญิงจะได้รับการส่งต่อเพื่อทำการตรวจเพิ่มเติมด้วยกล้องขยาย (colposcopy) และการตรวจชิ้นเนื้อบริเวณปากมดลูกไปตรวจหากพบว่ามีข้อบ่งชี้ และได้รับการรักษาที่เหมาะสมหากจำเป็น ปัจจุบันโครงการวิจัยนี้ได้สิ้นสุดลงแล้วและร้อยละ 78 ของอาสาสมัครหญิงจากจำนวน 829 รายที่เข้าร่วมโครงการวิจัยได้รับการติดตามจนกระทั่งสิ้นสุดการวิจัย และอาสาสมัครหญิงร้อยละ 90 ได้รับการติดตามอย่างน้อย 2 ครั้ง

การตีพิมพ์:
  • Delory T, et al., การติดเชื้อไวรัสเอช พี วีและรอยโรคของการเกิดมะเร็งปากมดลูกในผู้หญิงที่ติดเชื้อเอช ไอ วี ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสในประเทศไทย, J Infect (2017), http://dx.doi.org/10.1016/j.jinf.2017.02.007
  • Clifford GM, Tully S, Franceschi S. ประเภทของเชื้อไวรัสเอช พี วีที่ทำให้เกิดมะเร็งในผู้หญิงที่ติดเชื้อเอช ไอ วี: การวิเคราะห์อภิมาน (meta-analysis) จากการติดเชื้อเอช พี วีเป็นมะเร็งปากมดลูก Clin Infect Dis. 12 กุมภาพันธ์ 2017, http://dx.doi.org/10.1093/cid/cix135
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมโปรดดูที่: ClinicalTrials.gov NCT01792973
Picture
ผลการวิจัย
  • ร้อยละ 26 ของอาสาสมัครหญิงมีการติดเชื้อไวรัสเอช พี วีอย่างน้อย 1 ชนิด และร้อยละ 19 มีการติดเชื้อไวรัสเอช พี วีชนิดมีความเสี่ยงสูง
  • อาสาสมัครมีระดับการศึกษาต่ำ อายุน้อย และระดับเซลล์ CD4 ต่ำซึ่งสัมพันธ์กับการเกิดการติดเชื้อไวรัสเอช พี วีชนิดมีความเสี่ยงสูงอย่างมาก
  • จากการตรวจ pap-smear แสดงให้เห็นว่าร้อยละ 3 ของผู้ป่วยมีรอยโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงและการเกิดรอยโรคเหล่านี้สัมพันธ์กับการติดเชื้อไวรัสเอช พี วีชนิดมีความเสี่ยงสูงอย่างมาก
การวิเคราะห์การติดตามเกี่ยวกับอุบัติการณ์ การคงอยู่ และการกำจัดการติดเชื้อไวรัสเอช พี วีชนิดมีความเสี่ยงสูงและรอยโรคมะเร็งปากมดลูกกำลังอยู่ระหว่างการวิเคราะห์ข้อมูล ผลของการศึกษาวิจัยนี้จะให้ข้อมูลสำคัญสำหรับผู้วางนโยบายในด้านกลยุทธ์ในการคัดกรองและความเป็นไปได้ของประโยชน์ในการจัดให้มีการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสเอช พี วี
Location
Location
© PHPT 
195 Kaew Nawarat Road (3-4 Fl.), Wat Ked, Muang Chiang Mai, 50000, Thailand
Contact Webmaster