PHPT - Research Unit
Sitemap | Contact us | Intranet
  • Home
  • About us
    • Clinical Research Platform >
      • Laboratory
      • Monitoring
      • Data Management and Regulatory Compliance
      • Administration and Finance
    • Community Advisory Board
    • Partners and sponsors
  • Research
    • Clinical Research >
      • iTAP
      • Napneung
      • Simplified PrEP for MSM
      • Penta 20 ODYSEEY
      • IMPAACT Studies >
        • P1026s
        • 1077HS
        • P1081
        • P1090
        • P1093
        • P1115
      • HIV-HCV Treatment
      • Cohort of HIV Infected Adults and Children
      • PapilloV
      • Finished Studies >
        • PHPT-5 second phase
        • IMPAACT P1032
        • PHPT-5 first phase
        • PHPT-4
        • PHPT-3
        • PHPT-2
        • PHPT-1
    • Pathogenesis >
      • Recent studies >
        • Population pharmacokinetics of efavirenz in HIV-1 infected Thai children
        • Efavirenz concentrations and probability of virologic failure and adverse effects in HIV-infected children
        • Active TB in HIV-infected children
        • Endothelial dysfunction in HIV-infected adults
        • ​High plasma efavirenz levels and hyperlipidemia in HIV-infected children
        • ​Incidence and risk factors of diabetes in HIV-infected adults on ART
      • Older Studies >
        • Infant Early Diagnosis of HIV
        • Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • Timing and Risk factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • Simplified Methods for ARV Measurement
        • Pharmacogenomics of ARVs
        • Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • Pharmacokinetic Studies
    • Social Science >
      • TEEWA (HIV-infected adolescents)
      • LIWA (Living with Antiretrovirals)
      • Access to Treatment and Care (ATC)
  • Publications
    • Journal articles
    • Oral Presentations
    • Posters
  • Did you know?
    • The liver
    • Hepatitis B
    • Hepatitis C
    • HIV
    • Human Papilloma Virus
    • Zika Virus
  • Join us
    • Students and Interns
    • Job Applications
  • PHPT
  • Présentation
    • Plateforme de Recherche Clinique >
      • Laboratoire
      • Contrôle et Suivi
      • Gestion de données et Réglementation
      • Administration et Finances
    • Lien avec les communautés
    • Partenariats
  • La Recherche
    • La Recherche Clinique >
      • • iTAP
      • • Napneung
      • • Penta 20 ODYSEEY
      • • IMPAACT Studies >
        • • P1026s
        • • 1077HS
        • • P1081
        • • P1090
        • • P1093
        • • P1115
      • • HIV-HCV Treatment
      • • Cohort of HIV Infected Adults and Children
      • • PapilloV
      • Études précédentes​ >
        • • PHPT-5 second phase
        • • IMPAACT P1032
        • • PHPT-5 first phase
        • • PHPT-4
        • • PHPT-3
        • • PHPT-2
        • • PHPT-1
    • Pathogénie >
      • Etudes récentes >
        • • Population pharmacokinetics of efavirenz in HIV-1 infected Thai children
        • • Efavirenz concentrations and probability of virologic failure and adverse effects in HIV-infected children
        • • Active TB in HIV-infected children
        • • Endothelial dysfunction in HIV-infected adults
        • • ​High plasma efavirenz levels and hyperlipidemia in HIV-infected children
        • • ​Incidence and risk factors of diabetes in HIV-infected adults on ART
      • Etudes réalisées >
        • • Infant Early Diagnosis of HIV
        • • Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • • Timing and Risk factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • • Simplified Methods for ARV Measurement FR
        • • Pharmacogenomics of ARVs
        • • Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • • Pharmacokinetic Studies
    • Sciences Sociales >
      • • TEEWA
      • • LIWA (Living with Antiretrovirals)
      • • Access to Treatment and Care (ATC)
  • Résultats
    • Articles scientifiques
    • Présentations orales​
    • Affiches
  • En savoir plus …
    • Le foie
    • L’hépatite B
    • L’hépatite C
    • Le VIH
    • Le papillomavirus humain (HPV)
    • Le Virus Zika
  • Nous rejoindre
    • Etudiants et internes
    • Candidatures spontanées
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ฐานการวิจัยทางคลินิก >
      • แผนกห้องปฏิบัติการ
      • แผนกกำกับติดตามการวิจัย
      • แผนกบริหารจัดการข้อมูลและควบคุมเอกสา&#
      • แผนกบริหารงานทั่วไปและการเงิน
    • คณะกรรมการที่ปรึกษาชุมชน
    • ผู้ให้ความร่วมมือและผู้ให้ทุน
  • การวิจัย
    • การวิจัยทางคลีนิค >
      • โครงการวิจัยไอแทป
      • โครงการนับหนึ่ง
      • การให้ยาเพร็พแบบง่ายสำหรับกลุ่มชายรั
      • โครงการวิจัยโอดิสซี่ (ODYSSEY)
      • โครงการวิจัยร่วมกับ IMPAACT >
        • โครงการวิจัย P1026S
        • โครงการวิจัย 1077HS
        • โครงการวิจัย P1081
        • โครงการวิจัย P1090
        • โครงการวิจัย P1093
        • โครงการวิจัย P1115
      • โครงการวิจัย HIV-HCV Treatment
      • โครงการวิจัยติดตามสังเกตการณ์
      • โครงการวิจัย PapilloV
      • โครงการวิจัยที่เสร็จสิ้นแล้ว >
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 5 ระยะที่ 2
        • โครงการวิจัย P1032
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 5 ระยะแรก
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 4
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 3
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 2
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 1
    • การศึกษาพยาธิกำเนิด >
      • การศึกษาวิจัยเมื่อเร็วๆ นี้ >
        • การศึกษาด้านเภสัชจลนศาสตร์ของประชากร
        • ความเข้มข้นของยาอีฟาไวเรนซ์และความน่
        • วัณโรคระยะแพร่กระจายในเด็กที่ติดเชื้
        • ความผิดปกติของการทำงานของเซลล์บุผนัง
        • ระดับยาอีฟาไวเรนซ์ในเลือดสูงและภาวะไ
        • อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิด
      • การศึกษาที่เสร็จสิ้นแล้ว >
        • การศึกษา Infant Early Diagnosis of HIV
        • การศึกษา Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • การศึกษา Timing and Risk Factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • การศึกษา Simplified Methods for ARV Measurement
        • การศึกษา Pharmacogenomics of ARVs​
        • การศึกษา Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • การศึกษาทางเภสัชจลนศาสตร์
    • การวิจัยด้านสังคมศาสตร์ >
      • โครงการวิจัย TEEWA
      • โครงการวิจัย LIWA
      • การเข้าถึงการดูแลและรักษา
  • การเผยแพร่ผลการวิจัย
    • บทความที่ได้ตีพิมพ์ในวารสารด้านการแพ
    • การนำเสนอด้วยวาจา
    • การนำเสนอด้วยโปสเตอร์
  • รู้หรือไม่...
    • ตับของเรา
    • ตับอักเสบบี
    • ตับอักเสบซี
    • เอชไอวี
    • ไวรัสเอชพีวี
    • ซิกาไวรัส
  • ร่วมงานกับเรา
    • ร่วมงานกับเรา
    • การยื่นสมัครสำหรับผู้ที่มีความสนใจ
  • Symposiums
    • 2020 Mekong Hepatitis Symposium
    • August 19-20, 2019
    • September 5-7, 2018
    • November 22-24, 2017

เกี่ยวกับเชื้อเอช ไอ วี

คุณอยู่ที่: หน้าแรก / รู้หรือไม่... / เอช ไอ วี
1.  เชื้อเอช ไอ วีคืออะไร?
เอช ไอ วีย่อมาจาก Human Immunodeficiency Virus  คำว่า “ภูมิคุ้มกันบกพร่อง” หมายความว่าเชื้อไวรัสชนิดนี้ทำให้ร่างกายอ่อนแอลงเรื่อยๆและทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ระบบภูมิคุ้มกันทำให้ร่างกายของคนเราสามารถต่อสู้กับการติดเชื้อต่างๆได้ เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอลงเรื่อยๆ ในที่สุดทำให้ผู้ที่ติดเชื้อเอช ไอ วีจะไม่สามารถต้านการติดเชื้อต่างๆได้ เช่น วัณโรคหรือมะเร็ง: เราเรียกภาวะนี้เรียกว่า ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเอดส์
เมื่อผู้นั้นติดเชื้อเอช ไอ วีแล้วจะไม่สามารถกำจัดเชื้อไวรัสออกจากร่างกายได้แต่สามารถควบคุมเชื้อไวรัสได้โดยการรับการรักษา ปัจจุบันนี้ได้มีการรักษาเพื่อยับยั้งการเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัสและผู้ที่ได้รับการรักษาสามารถมีชีวิตอยู่ได้เหมือนคนปกติทั่วไป


2.   จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเกิดติดเชื้อขึ้น?
หลังจากการติดเชื้อแล้ว เชื้อไวรัสจะเริ่มแบ่งตัวซึ่งส่วนใหญ่จะแบ่งตัวในเซลล์ที่ทำหน้าที่เป็นภูมิคุ้มกันของร่างกายเรียกว่า ซีดี4 และแพร่กระจายในหลายอวัยวะ  ระยะนี้จะเกิดขึ้นภายในสองถึงสามสัปดาห์หลังจากการติดเชื้ออาจมีอาการไม่ค่อยสบายเหมือนอาการเป็นไข้หวัด มีผื่น เบื่ออาหาร มีไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เจ็บคอ เหงื่อออกในเวลากลางคืน เป็นแผลในปาก ในหลอดอาหาร หรืออวัยวะสืบพันธุ์  ต่อมน้ำเหลืองโต หรือปวดเมื่อยกล้ามเนื้อซึ่งอาการเหล่านี้อาจเกิดขึ้นกับบางคนแต่อาจจะไม่เกิดกับทุกคน
หลังจากช่วงเวลานี้  อาจมีอาการแสดงไม่มากหรือไม่มีอาการเลยซักระยะหนึ่งแต่เชื้อไวรัสก็ยังคงทำให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอลงและเพิ่มความเสี่ยงในการติดเชื้อต่างๆ โรคมะเร็งหรือภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ
มีเพียงการตรวจเท่านั้นที่จะทราบว่าผู้นั้นติดเชื้อหรือไม่ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่ควรทราบโดยเร็วว่าบุคคลผู้นั้นติดเชื้อหรือไม่เนื่องจากการรักษาสามารถป้องกันระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายไม่ให้อ่อนแอและถูกทำลายลงได้

3.   การแพร่เชื้อ
การแพร่เชื้อสามารถเกิดขึ้นได้ 3 ทาง ได้แก่:
  • การแพร่เชื้อทางเพศสัมพันธ์ผ่านทางช่องคลอด ทางทวารหนักหรือการมีเพศสัมพันธ์โดยใช้ปากโดยที่ไม่มีการป้องกัน
  • การแพร่เชื้อทางเลือดผ่านการแลกเปลี่ยนเลือด (เช่น การใช้ยาฉีดเข้าเส้น,การได้รับเลือดที่มีเชื้อ,การใช้อุปกรณ์ที่ไม่ได้รับการฆ่าเชื้อ)
  • ​การแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูก: จากแม่ที่ติดเชื้อสู่ลูกในขณะที่แม่ตั้งครรภ์ ขณะคลอดและการให้นมแม่

4.   การตรวจและการวินิจฉัย
มีเพียงวิธีเดียวเท่านั้นที่จะรู้ว่าติดเชื้อหรือไม่คือการตรวจ ซึ่งปัจจุบันนี้มีการตรวจหาการติดเชื้ออย่างแพร่หลายและราคาถูกในโรงพยาบาลและห้องปฏิบัติการต่างๆในประเทศไทยและบางองค์กรที่ตั้งอยู่ในชุมชนต่างๆ
ส่วนมากการตรวจหาการติดเชื้อเอช ไอ วี ใช้หลักการตรวจหาสารภูมิต้านทาน (antibody) ที่ต้านการติดเชื้อเอช ไอ วีโดยตรง การตรวจให้ผลเป็นบวกถ้าตรวจพบสารภูมิต้านทานที่ต้านการติดเชื้อเอช ไอ วีและผลเป็นลบถ้าตรวจไม่พบ
อย่างไรก็ตาม หลังจากที่ติดเชื้อ ร่างกายจะใช้เวลาประมาณ 3 สัปดาห์ถึง 1 – 2 เดือนในการสร้างสารต้านการติดเชื้อขึ้นมา ในช่วงนี้ (ระยะแฝง) การตรวจในช่วงเวลาหลังจากการติดเชื้อได้ไม่นานอาจได้ผลเป็นลบที่ไม่จริง จึงแนะนำให้ตรวจซ้ำหลังจาก 3 เดือนผ่านไปหรือใช้วิธีการตรวจที่มีความไวกว่านี้และขอคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญในสถานที่ที่ให้บริการตรวจ
​ในกรณีที่รู้ว่าเพิ่งสัมผัสเชื้อ มีวิธีการตรวจเฉพาะที่สามารถตรวจหาการติดเชื้อที่เพิ่งติดเมื่อไม่นานนี้ซึ่งการตรวจด้วยวิธีนี้มีอยู่ในโรงพยาบาลหลายแห่ง

5.   การป้องกัน
มีวิธีการป้องกันการติดเชื้อหลายวิธีดังต่อไปนี้:
  • ใช้ถุงยางอนามัยสำหรับผู้ชายหรือถุงยางอนามัยสำหรับผู้หญิงซึ่งถุงยางอนามัยสามารถป้องกันการติดโรคทางเพศสัมพันธ์อื่นๆได้ด้วย
  • ใช้เข็มฉีดยาที่สะอาดสำหรับการฉีดยาและไม่ใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้อื่น
  • รับรู้สถานะการติดเชื้อเอช ไอ วีของตนเอง
  • รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสโดยเร็วหลังจากการติดเชื้อเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อไวรัสไปยังผู้อื่น
  • ใช้ยาต้านไวรัสในผู้ที่ไม่ติดเชื้อเอช ไอ วีเมื่อมีความเสี่ยงสูงในการติดเชื้อทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ
การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายโดยสมัครใจ: ผู้ชายที่ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศมีความเสี่ยงต่ำในการติดเชื้อเอช ไอ วี
สำหรับการป้องกันการแพร่เชื้อเอช ไอ วีจากมารดาสู่ทารกมีวิธีการเฉพาะโดยใช้วิธีการให้ยาต้านไวรัสแก่มารดาและทารกแรกคลอดเป็นหลัก

6.   การรักษา
การให้การรักษาในปัจจุบันทำให้ผู้ที่ติดเชื้อสามารถใช้ชีวิตได้อย่างคนปกติทั่วไป ยาต้านไวรัสสูตรรวมซึ่งเป็นสูตรยารวมในเม็ดเดียวซึ่งรับประทานหนึ่งครั้งหรือสองครั้งต่อวันเพื่อยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อไวรัสซึ่งทำให้ปริมาณเชื้อไวรัสในเลือดลดลงต่ำมาก การรักษาช่วยให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายแข็งแรงขึ้นและสามารถต่อสู้กับการติดเชื้อและโรคต่างๆได้
ปัจจุบันนี้ยังไม่มีการรักษาใดที่สามารถกำจัดเชื้อไวรัสออกจากร่างกายได้ทั้งหมดและสามารถรักษาการติดเชื้อเอช ไอ วีให้หายขาดได้แต่นักวิจัยก็ยังมุ่งมั่นดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้อยู่
Location
Location
© PHPT 
195 Kaew Nawarat Road (3-4 Fl.), Wat Ked, Muang Chiang Mai, 50000, Thailand
Contact Webmaster