PHPT - Research Unit
Sitemap | Contact us | Intranet
  • Home
  • About us
    • Clinical Research Platform >
      • Laboratory
      • Monitoring
      • Data Management and Regulatory Compliance
      • Administration and Finance
    • Community Advisory Board
    • Partners and sponsors
  • Research
    • Clinical Research >
      • iTAP
      • Napneung
      • Simplified PrEP for MSM
      • Penta 20 ODYSEEY
      • IMPAACT Studies >
        • P1026s
        • 1077HS
        • P1081
        • P1090
        • P1093
        • P1115
      • HIV-HCV Treatment
      • Cohort of HIV Infected Adults and Children
      • PapilloV
      • Finished Studies >
        • PHPT-5 second phase
        • IMPAACT P1032
        • PHPT-5 first phase
        • PHPT-4
        • PHPT-3
        • PHPT-2
        • PHPT-1
    • Pathogenesis >
      • Recent studies >
        • Population pharmacokinetics of efavirenz in HIV-1 infected Thai children
        • Efavirenz concentrations and probability of virologic failure and adverse effects in HIV-infected children
        • Active TB in HIV-infected children
        • Endothelial dysfunction in HIV-infected adults
        • ​High plasma efavirenz levels and hyperlipidemia in HIV-infected children
        • ​Incidence and risk factors of diabetes in HIV-infected adults on ART
      • Older Studies >
        • Infant Early Diagnosis of HIV
        • Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • Timing and Risk factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • Simplified Methods for ARV Measurement
        • Pharmacogenomics of ARVs
        • Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • Pharmacokinetic Studies
    • Social Science >
      • TEEWA (HIV-infected adolescents)
      • LIWA (Living with Antiretrovirals)
      • Access to Treatment and Care (ATC)
  • Publications
    • Journal articles
    • Oral Presentations
    • Posters
  • Did you know?
    • The liver
    • Hepatitis B
    • Hepatitis C
    • HIV
    • Human Papilloma Virus
    • Zika Virus
  • Join us
    • Students and Interns
    • Job Applications
  • PHPT
  • Présentation
    • Plateforme de Recherche Clinique >
      • Laboratoire
      • Contrôle et Suivi
      • Gestion de données et Réglementation
      • Administration et Finances
    • Lien avec les communautés
    • Partenariats
  • La Recherche
    • La Recherche Clinique >
      • • iTAP
      • • Napneung
      • • Penta 20 ODYSEEY
      • • IMPAACT Studies >
        • • P1026s
        • • 1077HS
        • • P1081
        • • P1090
        • • P1093
        • • P1115
      • • HIV-HCV Treatment
      • • Cohort of HIV Infected Adults and Children
      • • PapilloV
      • Études précédentes​ >
        • • PHPT-5 second phase
        • • IMPAACT P1032
        • • PHPT-5 first phase
        • • PHPT-4
        • • PHPT-3
        • • PHPT-2
        • • PHPT-1
    • Pathogénie >
      • Etudes récentes >
        • • Population pharmacokinetics of efavirenz in HIV-1 infected Thai children
        • • Efavirenz concentrations and probability of virologic failure and adverse effects in HIV-infected children
        • • Active TB in HIV-infected children
        • • Endothelial dysfunction in HIV-infected adults
        • • ​High plasma efavirenz levels and hyperlipidemia in HIV-infected children
        • • ​Incidence and risk factors of diabetes in HIV-infected adults on ART
      • Etudes réalisées >
        • • Infant Early Diagnosis of HIV
        • • Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • • Timing and Risk factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • • Simplified Methods for ARV Measurement FR
        • • Pharmacogenomics of ARVs
        • • Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • • Pharmacokinetic Studies
    • Sciences Sociales >
      • • TEEWA
      • • LIWA (Living with Antiretrovirals)
      • • Access to Treatment and Care (ATC)
  • Résultats
    • Articles scientifiques
    • Présentations orales​
    • Affiches
  • En savoir plus …
    • Le foie
    • L’hépatite B
    • L’hépatite C
    • Le VIH
    • Le papillomavirus humain (HPV)
    • Le Virus Zika
  • Nous rejoindre
    • Etudiants et internes
    • Candidatures spontanées
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ฐานการวิจัยทางคลินิก >
      • แผนกห้องปฏิบัติการ
      • แผนกกำกับติดตามการวิจัย
      • แผนกบริหารจัดการข้อมูลและควบคุมเอกสา&#
      • แผนกบริหารงานทั่วไปและการเงิน
    • คณะกรรมการที่ปรึกษาชุมชน
    • ผู้ให้ความร่วมมือและผู้ให้ทุน
  • การวิจัย
    • การวิจัยทางคลีนิค >
      • โครงการวิจัยไอแทป
      • โครงการนับหนึ่ง
      • การให้ยาเพร็พแบบง่ายสำหรับกลุ่มชายรั
      • โครงการวิจัยโอดิสซี่ (ODYSSEY)
      • โครงการวิจัยร่วมกับ IMPAACT >
        • โครงการวิจัย P1026S
        • โครงการวิจัย 1077HS
        • โครงการวิจัย P1081
        • โครงการวิจัย P1090
        • โครงการวิจัย P1093
        • โครงการวิจัย P1115
      • โครงการวิจัย HIV-HCV Treatment
      • โครงการวิจัยติดตามสังเกตการณ์
      • โครงการวิจัย PapilloV
      • โครงการวิจัยที่เสร็จสิ้นแล้ว >
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 5 ระยะที่ 2
        • โครงการวิจัย P1032
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 5 ระยะแรก
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 4
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 3
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 2
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 1
    • การศึกษาพยาธิกำเนิด >
      • การศึกษาวิจัยเมื่อเร็วๆ นี้ >
        • การศึกษาด้านเภสัชจลนศาสตร์ของประชากร
        • ความเข้มข้นของยาอีฟาไวเรนซ์และความน่
        • วัณโรคระยะแพร่กระจายในเด็กที่ติดเชื้
        • ความผิดปกติของการทำงานของเซลล์บุผนัง
        • ระดับยาอีฟาไวเรนซ์ในเลือดสูงและภาวะไ
        • อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิด
      • การศึกษาที่เสร็จสิ้นแล้ว >
        • การศึกษา Infant Early Diagnosis of HIV
        • การศึกษา Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • การศึกษา Timing and Risk Factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • การศึกษา Simplified Methods for ARV Measurement
        • การศึกษา Pharmacogenomics of ARVs​
        • การศึกษา Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • การศึกษาทางเภสัชจลนศาสตร์
    • การวิจัยด้านสังคมศาสตร์ >
      • โครงการวิจัย TEEWA
      • โครงการวิจัย LIWA
      • การเข้าถึงการดูแลและรักษา
  • การเผยแพร่ผลการวิจัย
    • บทความที่ได้ตีพิมพ์ในวารสารด้านการแพ
    • การนำเสนอด้วยวาจา
    • การนำเสนอด้วยโปสเตอร์
  • รู้หรือไม่...
    • ตับของเรา
    • ตับอักเสบบี
    • ตับอักเสบซี
    • เอชไอวี
    • ไวรัสเอชพีวี
    • ซิกาไวรัส
  • ร่วมงานกับเรา
    • ร่วมงานกับเรา
    • การยื่นสมัครสำหรับผู้ที่มีความสนใจ
  • Symposiums
    • 2020 Mekong Hepatitis Symposium
    • August 19-20, 2019
    • September 5-7, 2018
    • November 22-24, 2017

เกี่ยวกับตับอักเสบซี

คุณอยู่ที่: หน้าแรก / รู้หรือไม่... / เกี่ยวกับตับอักเสบซี
1.   ตับอักเสบซีคืออะไร?
ตับอักเสบซีคือโรคเกี่ยวกับตับที่เชื้อแพร่กระจายได้ง่าย มีสาเหตุจากเชื้อไวรัสคือเชื้อไวรัสตับอักเสบซี (HCV)
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีแบบเฉียบพลันเป็นภาวะเจ็บป่วยระยะสั้นที่เกิดขึ้นประมาณ 6 เดือนหลังจากที่ผู้นั้นสัมผัสเชื้อไวรัสตับอักเสบซีครั้งแรก โดยปกติการติดเชื้อแบบเฉียบพลันจะไม่กลายเป็นการติดเชื้อแบบเรื้อรังเสมอไป
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีชนิดเรื้อรังเป็นภาวะเจ็บป่วยระยะยาวซึ่งเกิดขึ้นเมื่อยังคงมีเชื้อไวรัสอยู่ในร่างกายของผู้นั้น ภาวะการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีสามารถคงอยู่ได้ตลอดชีวิตและนำไปสู่สภาวะที่เป็นอันตรายต่อตับรวมถึงภาวะตับแข็งหรือมะเร็งตับ

2.   การแพร่เชื้อ
เชื้อไวรัสตับอักเสบซีสามารถแพร่เชื้อผ่านทางเลือด ส่วนใหญ่มักจะแพร่เชื้อเชื้อผ่าน:
  • การใช้ยาเสพติดชนิดฉีดผ่านการใช้อุปกรณ์การฉีดร่วมกัน
  • สถานที่ให้บริการด้านสุขภาพซึ่งมีการนำเอาอุปกรณ์การแพทย์เช่นกระบอกฉีดยาหรือเข็มฉีดยามาใช้ซ้ำหรือมีการฆ่าเชื้อที่ไม่สะอาดพอ 
  • รับเลือดและผลิตภัณฑ์เลือดที่ติดเชื้อ
เชื้อนี้สามารถแพร่เชื้อทางเพศสัมพันธ์ได้หรือสามารถผ่านจากมารดาที่ติดเชื้อไปสู่ทารกแต่รูปแบบการแพร่เชื้อในลักษณะเหล่านี้เกิดขึ้นได้น้อย

3.   อาการแสดงของโรค
ระยะฟักตัวของเชื้อไวรัสตับอักเสบซีนั้นอยู่ที่ระหว่าง 2 สัปดาห์ถึง 6 เดือน หลังจากเริ่มมีการติดเชื้อซึ่งคนส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80) มักไม่แสดงอาการใดๆ หากมีอาการแสดงอาจมีอาการดังนี้: มีไข้,อ่อนเพลีย, เบื่ออาหาร, คลื่นไส้,ปวดท้อง, อาเจียน, ปัสสาวะมีสีเข้ม,อุจจาระสีซีด, ปวดตามข้อ, ตัว-ตาเหลือง

4.   การป้องกัน
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีแบบเฉียบพลันนั้นโดยมากไม่แสดงอาการ ดังนั้นคนส่วนใหญ่จึงไม่ทราบว่าตนเองติดเชื้อแล้ว ถึงแม้ผู้ที่ติดเชื้อไม่มีอาการแสดงใดๆเลยก็ตามแต่ผู้ที่ติดเชื้อยังคงสามารถแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้
ยังไม่มีวัคซีนสำหรับป้องกันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี นี่คือเหตุผลของการป้องกันโดยการเน้นไปที่การลดความเสี่ยงของการแพร่เชื้อในสถานที่ให้บริการด้านสุขภาพ ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูงและการติดต่อผ่านการมีเพศสัมพันธ์

5.   การรักษา
ประมาณร้อยละ 15 ถึงร้อยละ 25 ของผู้ที่ติดเชื้อแบบเฉียบพลันสามารถขจัดการติดเชื้อนี้ออกจากร่างกายได้ การติดเชื้อเฉียบพลันและการติดเชื้อเรื้อรังนั้นสามารถรักษาได้โดยใช้ยาชนิดเดียวกัน
การรักษาที่เคยเป็นแบบมาตรฐานคือการใช้ยาหลายชนิดร่วมกันซึ่งรวมถึงอินเตอร์เฟอร์รอนซึ่งเป็นยาชนิดฉีดโดย ให้ยาเป็นระยะเวลา 6 – 12 เดือน ซึ่งการรักษานี้ผู้ป่วยมักไม่สามารถทนต่อยาได้ดีนักและผู้ป่วยส่วนใหญ่มักรักษาไม่หาย สำหรับการรักษาแบบใหม่ที่ใช้เฉพาะยาชนิดรับประทานนั้นมีประสิทธิภาพมากกว่าและผู้ป่วยสามารถทนต่อยาได้ดีกว่าซึ่งสามารถรักษาการติดเชื้อให้หายขาดได้ใน 3 – 6 เดือนแต่ยามีราคาแพงซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถจ่ายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีข้อจำกัดด้านทรัพยากร
Location
Location
© PHPT 
195 Kaew Nawarat Road (3-4 Fl.), Wat Ked, Muang Chiang Mai, 50000, Thailand
Contact Webmaster