PHPT - Research Unit
Sitemap | Contact us | Intranet
  • Home
  • About us
    • Clinical Research Platform >
      • Laboratory
      • Monitoring
      • Data Management and Regulatory Compliance
      • Administration and Finance
    • Community Advisory Board
    • Partners and sponsors
  • Research
    • Clinical Research >
      • iTAP
      • Napneung
      • Penta 20 ODYSEEY
      • IMPAACT Studies >
        • P1026s
        • 1077HS
        • P1081
        • P1090
        • P1093
        • P1115
      • HIV-HCV Treatment
      • Cohort of HIV Infected Adults and Children
      • PapilloV
      • Finished Studies >
        • PHPT-5 second phase
        • IMPAACT P1032
        • PHPT-5 first phase
        • PHPT-4
        • PHPT-3
        • PHPT-2
        • PHPT-1
    • Pathogenesis >
      • Recent studies >
        • Population pharmacokinetics of efavirenz in HIV-1 infected Thai children
        • Efavirenz concentrations and probability of virologic failure and adverse effects in HIV-infected children
        • Active TB in HIV-infected children
        • Endothelial dysfunction in HIV-infected adults
        • ​High plasma efavirenz levels and hyperlipidemia in HIV-infected children
        • ​Incidence and risk factors of diabetes in HIV-infected adults on ART
      • Older Studies >
        • Infant Early Diagnosis of HIV
        • Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • Timing and Risk factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • Simplified Methods for ARV Measurement
        • Pharmacogenomics of ARVs
        • Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • Pharmacokinetic Studies
    • Social Science >
      • TEEWA (HIV-infected adolescents)
      • LIWA (Living with Antiretrovirals)
      • Access to Treatment and Care (ATC)
  • Publications
    • Journal articles
    • Oral Presentations
    • Posters
  • Did you know?
    • The liver
    • Hepatitis B
    • Hepatitis C
    • HIV
    • Human Papilloma Virus
    • Zika Virus
  • Join us
    • Students and Interns
    • Job Applications
  • PHPT
  • Présentation
    • Plateforme de Recherche Clinique >
      • Laboratoire
      • Contrôle et Suivi
      • Gestion de données et Réglementation
      • Administration et Finances
    • Lien avec les communautés
    • Partenariats
  • La Recherche
    • La Recherche Clinique >
      • • iTAP
      • • Napneung
      • • Penta 20 ODYSEEY
      • • IMPAACT Studies >
        • • P1026s
        • • 1077HS
        • • P1081
        • • P1090
        • • P1093
        • • P1115
      • • HIV-HCV Treatment
      • • Cohort of HIV Infected Adults and Children
      • • PapilloV
      • Études précédentes​ >
        • • PHPT-5 second phase
        • • IMPAACT P1032
        • • PHPT-5 first phase
        • • PHPT-4
        • • PHPT-3
        • • PHPT-2
        • • PHPT-1
    • Pathogénie >
      • Etudes récentes >
        • • Population pharmacokinetics of efavirenz in HIV-1 infected Thai children
        • • Efavirenz concentrations and probability of virologic failure and adverse effects in HIV-infected children
        • • Active TB in HIV-infected children
        • • Endothelial dysfunction in HIV-infected adults
        • • ​High plasma efavirenz levels and hyperlipidemia in HIV-infected children
        • • ​Incidence and risk factors of diabetes in HIV-infected adults on ART
      • Etudes réalisées >
        • • Infant Early Diagnosis of HIV
        • • Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • • Timing and Risk factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • • Simplified Methods for ARV Measurement FR
        • • Pharmacogenomics of ARVs
        • • Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • • Pharmacokinetic Studies
    • Sciences Sociales >
      • • TEEWA
      • • LIWA (Living with Antiretrovirals)
      • • Access to Treatment and Care (ATC)
  • Résultats
    • Articles scientifiques
    • Présentations orales​
    • Affiches
  • En savoir plus …
    • Le foie
    • L’hépatite B
    • L’hépatite C
    • Le VIH
    • Le papillomavirus humain (HPV)
    • Le Virus Zika
  • Nous rejoindre
    • Etudiants et internes
    • Candidatures spontanées
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ฐานการวิจัยทางคลินิก >
      • แผนกห้องปฏิบัติการ
      • แผนกกำกับติดตามการวิจัย
      • แผนกบริหารจัดการข้อมูลและควบคุมเอกสา&#
      • แผนกบริหารงานทั่วไปและการเงิน
    • คณะกรรมการที่ปรึกษาชุมชน
    • ผู้ให้ความร่วมมือและผู้ให้ทุน
  • การวิจัย
    • การวิจัยทางคลีนิค >
      • โครงการวิจัยไอแทป
      • โครงการนับหนึ่ง
      • โครงการวิจัยโอดิสซี่ (ODYSSEY)
      • โครงการวิจัยร่วมกับ IMPAACT >
        • โครงการวิจัย P1026S
        • โครงการวิจัย 1077HS
        • โครงการวิจัย P1081
        • โครงการวิจัย P1090
        • โครงการวิจัย P1093
        • โครงการวิจัย P1115
      • โครงการวิจัย HIV-HCV Treatment
      • โครงการวิจัยติดตามสังเกตการณ์
      • โครงการวิจัย PapilloV
      • โครงการวิจัยที่เสร็จสิ้นแล้ว >
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 5 ระยะที่ 2
        • โครงการวิจัย P1032
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 5 ระยะแรก
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 4
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 3
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 2
        • โครงการวิจัยพีเอชพีที 1
    • การศึกษาพยาธิกำเนิด >
      • การศึกษาวิจัยเมื่อเร็วๆ นี้ >
        • การศึกษาด้านเภสัชจลนศาสตร์ของประชากร
        • ความเข้มข้นของยาอีฟาไวเรนซ์และความน่
        • วัณโรคระยะแพร่กระจายในเด็กที่ติดเชื้
        • ความผิดปกติของการทำงานของเซลล์บุผนัง
        • ระดับยาอีฟาไวเรนซ์ในเลือดสูงและภาวะไ
        • อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิด
      • การศึกษาที่เสร็จสิ้นแล้ว >
        • การศึกษา Infant Early Diagnosis of HIV
        • การศึกษา Tolerance of zidovudine for PMTCT of HIV
        • การศึกษา Timing and Risk Factors of Mother to Child Transmission of HIV
        • การศึกษา Simplified Methods for ARV Measurement
        • การศึกษา Pharmacogenomics of ARVs​
        • การศึกษา Issues of Using Nevirapine for PMTCT
        • การศึกษาทางเภสัชจลนศาสตร์
    • การวิจัยด้านสังคมศาสตร์ >
      • โครงการวิจัย TEEWA
      • โครงการวิจัย LIWA
      • การเข้าถึงการดูแลและรักษา
  • การเผยแพร่ผลการวิจัย
    • บทความที่ได้ตีพิมพ์ในวารสารด้านการแพ
    • การนำเสนอด้วยวาจา
    • การนำเสนอด้วยโปสเตอร์
  • รู้หรือไม่...
    • ตับของเรา
    • ตับอักเสบบี
    • ตับอักเสบซี
    • เอชไอวี
    • ไวรัสเอชพีวี
    • ซิกาไวรัส
  • ร่วมงานกับเรา
    • ร่วมงานกับเรา
    • การยื่นสมัครสำหรับผู้ที่มีความสนใจ
  • Symposiums
    • 2020 Mekong Hepatitis Symposium
    • August 19-20, 2019
    • September 5-7, 2018
    • November 22-24, 2017
​คุณอยู่ที่: หน้าแรก / การวิจัย / การวิจัยทางคลีนิค / การศึกษาพยาธิกำเนิด / การศึกษาที่เสร็จสิ้นแล้ว / การศึกษา Infant Early Diagnosis of HIV

การวินิจฉัยการติดเชื้อเอช ไอ วีโดยเร็วในทารก (​  Infant Early Diagnosis of HIV)

หากไม่มีการรักษาด้วยยาต้านไวรัส เด็กที่ติดเชื้อเอช ไอ วีในประเทศที่มีข้อจำกัดด้านทรัพยากรร้อยละ 40 จะเสียชีวิตในช่วงขวบปีแรก และเพิ่มเป็นร้อยละ 50 ในทารกที่มีอายุ 2 ปี พบว่ามีอัตราการตายในทารกแรกคลอดลดลงร้อยละ 76 หากทารกได้เริ่มการรักษาด้วยยาต้านไวรัสในช่วง 12 สัปดาห์แรก ก่อนที่ทารกจะแสดงอาการทางคลินิกหรือมีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง

ในช่วงระยะเวลา 2-3 ปีที่ผ่านมา ได้มีการพัฒนาเทคนิคการวินิจฉัยการติดเชื้อเอช ไอ วีในทารกโดยเร็ว เทคนิคนี้เรียกว่า DNA PCR ซึ่งเป็นเทคนิคที่ไวมากและสามารถตรวจพบเชื้อไวรัสจากปริมาณเลือดที่เก็บมาเพียงจำนวนเล็กน้อยมาก ซึ่งเป็นหยดเลือดแห้งบนกระดาษกรอง โดยใช้เทคนิค in- house และมีต้นทุนต่ำ ในปัจจุบันเทคนิคนี้สามารถตรวจเพื่อให้ทราบว่าทารกติดเชื้อหรือไม่เมื่อทารกมีอายุเพียง 2 เดือน 

ด้วยการสนับสนุนจากองค์กรพัฒนาเอกชน Sidaction ออกซ์แฟมแห่งสหราชอาณาจักร และโครงการกองทุนโลก ได้มีการก่อตั้งโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีขึ้นระหว่างโครงการพีเอชพีทีและภาควิชาจุลชีววิทยา คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การให้บริการการตรวจวินิจฉัยโดยเร็วได้ตรวจนำร่องในโรงพยาบาลรัฐ 35 แห่งที่เป็นโรงพยาบาลเครือข่ายของพีเอชพีทีทั่วประเทศไทย ได้เก็บตัวอย่างเลือดของเด็กในกระดาษกรองเฉพาะและแห้ง และจัดส่งทางไปรษณีย์ไปยังห้องปฏิบัติการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งทราบผลการตรวจได้ภายใน 1 เดือน ทารกทุกรายจะได้รับการตรวจจำนวน 2 ครั้งเพื่อยืนยันผล

ด้วยการตรวจวินิจฉัยนี้ ครอบครัวของทารกที่มีผลยืนยันการตรวจการติดเชื้อเอช ไอ วีเป็นลบมั่นใจได้ว่าไม่จำเป็นต้องให้การดูแลทารกเป็นพิเศษ การตรวจวินิจฉัยโดยเร็วนี้ช่วยให้ทารกที่ติดเชื้อเอช ไอ วีมีโอกาสรอดชีวิตได้มากขึ้น เนื่องจากแพทย์สามารถเริ่มให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสแก่ทารกได้ทันทีเมื่อจำเป็น  ปัจจุบันการให้บริการการวินิจฉัยการติดเชื้อเอช ไอ วีในทารกที่คลอดจากมารดาติดเชื้อเอช ไอ วีโดยเร็วนั้นเป็นการบริการที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการให้บริการตามมาตรฐานการดูแลของประเทศไทย โดยการสนับสนุนของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

การดำเนินการวิจัยเพื่อประเมินการตรวจวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคที่มีต้นทุนต่ำ in-house real-time polymerase chain reaction (PCR) เพื่อตรวจหา DNA การติดเชื้อเอช ไอ วี-1 ในทารกจากหยดเลือดแห้ง (DBS) ซึ่งพบว่าการวิเคราะห์โดยรวมการใช้ DBS และเทคนิค real-time PCR น่าเชื่อถือได้และเป็นเครื่องมือที่ซื้อหาได้เพื่อขยายการเข้าถึงการตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อเอช ไอ วีโดยเร็วในพื้นที่ห่างไกลและมีข้อจำกัดด้านทรัพยากร สามารถให้การรักษาแก่ทารกที่ติดเชื้อเอช ไอ วี-1 ได้ตามเวลาที่เหมาะสม

ท่านสามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้จากเอกสาร Early HIV-1 Diagnosis Using In-House Real-Time PCR Amplification on Dried Blood Spots for Infants in Remote and Resource-Limited Settings [jaids.org]

Location
Location
© PHPT (CMU-IRD Unit 174)
195 Kaew Nawarat Road (3-4 Fl.), Wat Ked, Muang Chiang Mai, 50000, Thailand
Contact Webmaster